ในประเทศไทยเองก็มีการพยายามให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลแผนที่ตัวเลขสร้างข้อมูล(Meta data)ออกมาในลักษณะมาตรฐานใช้ร่วมกัน ทางกรมแผนที่ทหาร เองก็มีความพยายามทีจะทำแผนที่ตัวเลขให้ออกมาในลักษณะ Meta data โดยตั้งรูปแบบข้อมูลแผนที่ตัวเลขออกมาใน 7 รูปแบบคือ
ส่วนที่เป็น Vector มีรูปแบบข้อมูลดังต่อไปนี้
Vmap อยู่ในมาตรฐานของ Digest
Shape file มาตรฐานข้อมูลที่ใช้ใน software ส่วนมาก
Dgnหรือ DXF มาตรฐานข้อมูลที่ใช้ใน software ส่วนมาก
ส่วนที่เป็น Raster มีรูปแบบข้อมูลดังต่อไปนี้
DTED อยู่ในมาตรฐานของ Digest
ADRG อยู่ในมาตรฐานของ Digest
Geotiff มาตรฐานข้อมูลที่ใช้ใน software ส่วนมาก
ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ภาพถ่ายทางอากาศหรือภาพแผนที่ที่มิได้ผ่านกระบวนการตรึงให้เข้ากับพิกัดโลก(Georeference)ในส่วนของที่เป็นตัวเลข ปัจจุบันจะผลิตออกมาในลักษณะ ของ Tiff
โดยที่มีการตกลงกันว่า กรมแผนที่ทหารจะผลิตข้อมูลออกมาในลักษณะ 7 รูปแบบ หน่วยราชการที่มีความต้องการข้อมูลแผนที่ตัวเลข ต้องมีเครื่องมือหรือโปรแกรมที่จะรับข้อมูลทั้ง 7 รูปแบบได้
เรื่องราวของ แผนที่ตัวเลข เป็น ข้อมูลที่เราสามารถจะนำไปใช้ประโยชน์ได้ในหลายรูปแบบ ข้อมูลแผนที่ตัวเลขที่ผ่านการออกแบบมาเป็นอย่างดี และผลิตเพื่อแจกจ่ายที่เป็นในรูปแบบข้อมูลที่เป็นมาตรฐาน นอกจากจะเป็นการลดความไม่เข้ากันในระหว่างขั้นตอนการแลกเปลี่ยนข้อมูลแล้ว ยังเป็นการลดความซ้ำซ้อนในการจัดทำข้อมูล จึงเป็นสิ่งที่หน่วยงานที่ใช้ข้อมูลแผนที่ตัวเลขควรคำนึงถึง ก่อนที่จะจัดทำระบบ ในอดีตที่ผ่านมา หลายหน่วยงานที่จัดทำระบบขึ้นมา มักจะคำนึงถึงเฉพาะเรื่อง ที่เกี่ยวกับ Hardware และ Software มากกว่าที่จะคำนึงในส่วนของ บุคลากรและข้อมูล เมื่อจัดหาระบบขึ้นมาใช้งาน มักจะทำงานออกมาเป็นผลผลิตไม่ตรงตามเป้าหมายที่วางไว้ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อหน่วยงานเอง จึงเป็นส่วนที่นักวิเคราะห์ระบบต้องคำนึงไว้
วันจันทร์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
นักเขียนแผนที่จะสามารถยอมรับเทคโนโลยีได้ค่อนข้างเร็วอยู่แล้ว แผนที่จึงเป็นตัวสะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จ และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในช่วงเวลาสั้นๆ เช่น การจะเลือกข้อมูลสำหลับการเขียนแผนที่อย่างไร จะออกแบบอย่างไร จะผลิตและพิมพ์อย่างไร เหล่านี้จะเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีทั้งสิ้น
เหตุผลที่มีสหสัมพันธ์สูงระหว่างความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและความสำเร็จของการเขียนแผนที่จะพิสูจน์ได้จากนักเขียนแผนที่รุ่นต่อไปที่จะมุ่งเข้าสู่เป้าหมายใหญ่ คือ
1. สังคมภายนอกยังต้องการแผนที่ที่มีความถูกต้องสมบูรณ์และทันสมัย
2. มีความต้องการแผนที่ที่มีราคาถูกลงมากยิ่งขึ้น
การเขียนแผนที่ที่มีการประยุกค์ใช้เครื่องมือใหม่ๆเพื่อลดเวลาการทำงาน ลดการทำงานที่ซ้ำๆกัน เพื่อความถูกต้อง โดยจะไม่เปลี่ยนแปลงหลักการพื้นฐานเมื่อใช้เทคโนโลยีใหม่ แต่การจะหาเทคโนโลยีที่มีความสมบูรณ์พร้อมทุกด้านคงเป็นเรื่องยาก นักเขียนแผนที่รุ่นใหม่มีโอกาสมากกว่าในแง่ของการผสมผสานเทคโนโลยีเป็นลูกผสม (Hybrid Technology)
เทคโนโลยีเป็นลูกผสม (Hybrid Technology)
เมื่อทำแผนที่แผ่นหนึ่งมีการใช้ HW & SW หลายอย่างจึงทำให้ในปัจจุบันมีแผนที่อย่างหลากหลาย อย่างไรก็ตามการทำแผนที่จะต้องมีดุลยภาพระหว่างความเหมาะสมด้านเวลา ค่าใช้จ่าย (แรงงาน เครื่องมือ และวัสดุ) และคุณภาพของแผนที่ที่ต้องการ
เหตุผลที่มีสหสัมพันธ์สูงระหว่างความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและความสำเร็จของการเขียนแผนที่จะพิสูจน์ได้จากนักเขียนแผนที่รุ่นต่อไปที่จะมุ่งเข้าสู่เป้าหมายใหญ่ คือ
1. สังคมภายนอกยังต้องการแผนที่ที่มีความถูกต้องสมบูรณ์และทันสมัย
2. มีความต้องการแผนที่ที่มีราคาถูกลงมากยิ่งขึ้น
การเขียนแผนที่ที่มีการประยุกค์ใช้เครื่องมือใหม่ๆเพื่อลดเวลาการทำงาน ลดการทำงานที่ซ้ำๆกัน เพื่อความถูกต้อง โดยจะไม่เปลี่ยนแปลงหลักการพื้นฐานเมื่อใช้เทคโนโลยีใหม่ แต่การจะหาเทคโนโลยีที่มีความสมบูรณ์พร้อมทุกด้านคงเป็นเรื่องยาก นักเขียนแผนที่รุ่นใหม่มีโอกาสมากกว่าในแง่ของการผสมผสานเทคโนโลยีเป็นลูกผสม (Hybrid Technology)
เทคโนโลยีเป็นลูกผสม (Hybrid Technology)
เมื่อทำแผนที่แผ่นหนึ่งมีการใช้ HW & SW หลายอย่างจึงทำให้ในปัจจุบันมีแผนที่อย่างหลากหลาย อย่างไรก็ตามการทำแผนที่จะต้องมีดุลยภาพระหว่างความเหมาะสมด้านเวลา ค่าใช้จ่าย (แรงงาน เครื่องมือ และวัสดุ) และคุณภาพของแผนที่ที่ต้องการ
การเขียนแผนที่
ในอดีตการเขียนแผนที่ถูกจำกัดเฉพาะหลักเบื้องต้น(Basic Elements) ของวิทยาศาสตร์การทำแผนที่ต้องการความถูกต้องและมีข้อมูลมากๆ แผนที่เองจะทำหน้าที่สำคัญ 2 ประการ
1.ใช้สำหรับการเขียนข้อมูลข่าวสารที่คนต้องการ
2. ใช้แสดงภาพของพื้นที่โลกที่จะช่วยให้เราเข้าใจสิ่งแวดล้อมในด้าน Spatial Pattern, Relationship and Spatial Complexity
เมื่อมีการนำคอมพิวเตอร์มาปฏิวัติงานเขียนแผนที่เชิงเลขสามารถทำหน้าที่แทนวิธีการแบบดั้งเดิมได้อย่างน่าพอใจ นอกจากนี้อังทำให้ผลงานมีความแตกต่างอย่างน้อย 2 ประการ คือ
1. ทำให้เกิดฐานข้อมูลเชิงเลข (Digital Database) มาแทนแผนที่กระดาษ (Print Map)
2. ทำให้แผนที่ในรูปแบบ Cartographic Visualizations สามารถทำได้บนสื่อหลายประเภท
ทุกวันนี้ HW และ SW คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องช่วยให้นักเขียนแผนที่ทำงานแทนวิธีการอะนาล็อกเก่าๆ ได้เกือบทั้งหมด ยกเว้นเทคนิคบางอย่างที่เป็นอัตนัย เช่น
- Feature Generalization
- งานนามศัพท์ภูมิศาสตร์ (Geographic Name Placement)
สิ่งที่สำคัญต่อนักเขียนแผนที่ในอนาคตคือมาตรฐานข้อมูลแผนที่ เพราะมาตรฐานข้อมูลแผนที่เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับวิธีการเก็บข้อมูล คุณภาพข้อมูล(Data Quality) การเปลี่ยนแปลงข้อมูล (Data Exchange) และการทำงานร่วมกับฮาร์เวร์และซอฟเวร์
1.ใช้สำหรับการเขียนข้อมูลข่าวสารที่คนต้องการ
2. ใช้แสดงภาพของพื้นที่โลกที่จะช่วยให้เราเข้าใจสิ่งแวดล้อมในด้าน Spatial Pattern, Relationship and Spatial Complexity
เมื่อมีการนำคอมพิวเตอร์มาปฏิวัติงานเขียนแผนที่เชิงเลขสามารถทำหน้าที่แทนวิธีการแบบดั้งเดิมได้อย่างน่าพอใจ นอกจากนี้อังทำให้ผลงานมีความแตกต่างอย่างน้อย 2 ประการ คือ
1. ทำให้เกิดฐานข้อมูลเชิงเลข (Digital Database) มาแทนแผนที่กระดาษ (Print Map)
2. ทำให้แผนที่ในรูปแบบ Cartographic Visualizations สามารถทำได้บนสื่อหลายประเภท
ทุกวันนี้ HW และ SW คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องช่วยให้นักเขียนแผนที่ทำงานแทนวิธีการอะนาล็อกเก่าๆ ได้เกือบทั้งหมด ยกเว้นเทคนิคบางอย่างที่เป็นอัตนัย เช่น
- Feature Generalization
- งานนามศัพท์ภูมิศาสตร์ (Geographic Name Placement)
สิ่งที่สำคัญต่อนักเขียนแผนที่ในอนาคตคือมาตรฐานข้อมูลแผนที่ เพราะมาตรฐานข้อมูลแผนที่เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับวิธีการเก็บข้อมูล คุณภาพข้อมูล(Data Quality) การเปลี่ยนแปลงข้อมูล (Data Exchange) และการทำงานร่วมกับฮาร์เวร์และซอฟเวร์
วันจันทร์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ฮิสโทแกรม (histogram)
เกี่ยวกับฮิสโทแกรม (histogram)
ฮิสโทแกรม (histogram) เป็นกราฟที่แสดงจำนวนข้อมูลต่างๆของภาพ ซึ่งช่วยให้ง่ายต่อการตรวจสอบความสว่างและความมืดของภาพ หรือทิศทางของสีที่ใช้ท่านสามารถตรวจสอบค่าฮิสโทแกรม (histogram) ในกล้องได้ดังต่อไปนี้
• การแสดงค่าความสว่าง (Brightness Display): ระดับค่าความสว่างและ gradation โดยรวม
• การแสดงค่า RGB: Color saturation และ gradation
สำหรับข้อมูลเกี่ยวกับการแสดงฮิสโทแกรม (histogram) โปรดดูรายละเอียดใน ท่านสามารถแสดงข้อมูลในการถ่ายภาพระหว่างการเรียกดูภาพได้อย่างไร?
ท่านสามารถสับเปลี่ยนการแสดงผลระหว่าง [Brightness] และ [RGB] ได้ โดยใช้รายการเมนูที่แสดงขึ้นบนหน้าจอ LCD
[Brightness] การแสดงค่าความสว่าง
ฮิสโทแกรม (histogram) นี้จะแสดงกราฟความสว่างของภาพในแนวนอน (Left: Dark; Right: Bright) และไล่จำนวนพิกเซลที่ระดับความสว่างของภาพในแนวตั้ง
ในหน้าจอ ยอดของกราฟที่มีแนวโน้มไปทางด้านซ้ายนั้นเป็นการแสดงค่าของภาพถ่ายที่มืด และยอดของกราฟที่มีแนวโน้มไปทางด้านขวานั้นเป็นการแสดงค่าของภาพถ่ายที่มีความสว่าง โดยตรงบริเวณส่วนอื่นๆนั้นจะเป็นค่า gradation
ในฮิสโทแกรม (histogram) ท่านสามารถตรวจสอบระดับค่าความสว่างของแสงและ gradation ในภาพได้
การแสดงค่า RGB
ฮิสโทแกรม (histogram) นี้จะแสดงกราฟความสว่างของภาพในแนวนอน (Left: Dark; Right: Bright) และไล่จำนวนพิกเซลที่ระดับความสว่างของภาพในแนวตั้งในแต่ละสี R (Red)/G (Green)/B (Blue)
ในหน้าจอ ยอดของกราฟที่มีแนวโน้มไปทางด้านซ้ายนั้นเป็นการแสดงค่าของภาพถ่ายที่มืด สีของภาพจะดูจาง และยอดของกราฟที่มีแนวโน้มไปทางด้านขวานั้นเป็นการแสดงค่าของภาพถ่ายที่มีความสว่าง ซึ่งสีของภาพจะดูทึบกว่า ส่วนประกอบทางด้านซ้ายนั้นจะมีข้อมูลสีเพียงนิดเดียวหรือแทบไม่มีเลย และส่วนประกอบทางด้านขวานั้นจะเป้นค่าความอิ่มตัวของสี (saturated) โดยที่ไม่มี gradation
ในฮิสโทแกรม (histogram) ท่านสามารถตรวจสอบระดับค่า saturation ของสี และ gradations ในภาพได้
ฮิสโทแกรม (histogram) เป็นกราฟที่แสดงจำนวนข้อมูลต่างๆของภาพ ซึ่งช่วยให้ง่ายต่อการตรวจสอบความสว่างและความมืดของภาพ หรือทิศทางของสีที่ใช้ท่านสามารถตรวจสอบค่าฮิสโทแกรม (histogram) ในกล้องได้ดังต่อไปนี้
• การแสดงค่าความสว่าง (Brightness Display): ระดับค่าความสว่างและ gradation โดยรวม
• การแสดงค่า RGB: Color saturation และ gradation
สำหรับข้อมูลเกี่ยวกับการแสดงฮิสโทแกรม (histogram) โปรดดูรายละเอียดใน ท่านสามารถแสดงข้อมูลในการถ่ายภาพระหว่างการเรียกดูภาพได้อย่างไร?
ท่านสามารถสับเปลี่ยนการแสดงผลระหว่าง [Brightness] และ [RGB] ได้ โดยใช้รายการเมนูที่แสดงขึ้นบนหน้าจอ LCD
[Brightness] การแสดงค่าความสว่าง
ฮิสโทแกรม (histogram) นี้จะแสดงกราฟความสว่างของภาพในแนวนอน (Left: Dark; Right: Bright) และไล่จำนวนพิกเซลที่ระดับความสว่างของภาพในแนวตั้ง
ในหน้าจอ ยอดของกราฟที่มีแนวโน้มไปทางด้านซ้ายนั้นเป็นการแสดงค่าของภาพถ่ายที่มืด และยอดของกราฟที่มีแนวโน้มไปทางด้านขวานั้นเป็นการแสดงค่าของภาพถ่ายที่มีความสว่าง โดยตรงบริเวณส่วนอื่นๆนั้นจะเป็นค่า gradation
ในฮิสโทแกรม (histogram) ท่านสามารถตรวจสอบระดับค่าความสว่างของแสงและ gradation ในภาพได้
การแสดงค่า RGB
ฮิสโทแกรม (histogram) นี้จะแสดงกราฟความสว่างของภาพในแนวนอน (Left: Dark; Right: Bright) และไล่จำนวนพิกเซลที่ระดับความสว่างของภาพในแนวตั้งในแต่ละสี R (Red)/G (Green)/B (Blue)
ในหน้าจอ ยอดของกราฟที่มีแนวโน้มไปทางด้านซ้ายนั้นเป็นการแสดงค่าของภาพถ่ายที่มืด สีของภาพจะดูจาง และยอดของกราฟที่มีแนวโน้มไปทางด้านขวานั้นเป็นการแสดงค่าของภาพถ่ายที่มีความสว่าง ซึ่งสีของภาพจะดูทึบกว่า ส่วนประกอบทางด้านซ้ายนั้นจะมีข้อมูลสีเพียงนิดเดียวหรือแทบไม่มีเลย และส่วนประกอบทางด้านขวานั้นจะเป้นค่าความอิ่มตัวของสี (saturated) โดยที่ไม่มี gradation
ในฮิสโทแกรม (histogram) ท่านสามารถตรวจสอบระดับค่า saturation ของสี และ gradations ในภาพได้
ประวัติวันคริสต์มาส
วันคริสต์มาสเป็นวันหยุดประจำปี ที่จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซูซึ่งตรงกับวันที่ 25 ธันวาคม โดยวันดังกล่าวอาจจะไม่ตรงกับวันเกิดจริงๆของพระเยซู แต่อาจจะเป็นวันที่ถูกเลือกเอาไว้เพื่อให้สอดคล้องกับเทศกาลโรมัน หรือสอดคล้องกับวันที่มีช่วงเวลากลางวันสั้นที่สุด (winter solstice) คริสต์มาสเป็นเทศกาลที่สำคัญ และมีการฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ในย่านของชาวคริสเตียนนั้นจะมีการจัดเทศกาลนี้ยาวนานถึง 12
คำว่า คริสต์มาส มีที่มาจากคำประสม คำว่า “Christ's Mass” ซึ่งมีรากคำมาจากคำว่า Christemasse ของภาษาอังกฤษยุคกลาง และ คำว่า Cristes mæsse จากภาษาอังกฤษโบราณซึ่งมีการบันทึกคำดังกล่าวครั้งแรกไว้ในปี 1038
คำว่า Cristes มาจากพระเยซูคริสต์ของกรีก และคำว่า mæsse มาจากหนังสือสวดมนตร์ของชาวละติน ในภาษากรีกตัวอักษร X เป็นตัวอักษรแรกของคำว่า “Christ” ซึ่งคล้ายกับตัว X ในภาษาโรมัน จึงมีการใช้ X แทน Christ ตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 16 ดังนั้นจึงนิยมใช้คำว่า Xmas แทน Christmas
เทศกาลฤดูหนาวคือเทศกาลที่ประชาชนให้ความนิยมสูงสุดกันมาช้านานในหลายประเทศด้วยเหตุผลหลายประการ รวมถึงงานด้านเกษตรกรรมมีไม่มากนักในช่วงฤดูหนาวและเพราะการตั้งความหวังว่าสภาพอากาศจะดีขึ้นเมื่อฤดูใบไม้ผลิแวะเวียนมาถึงกิจกรรมของคริสต์มาสสมัยใหม่นั้น ประกอบด้วย การมอบของขวัญ การเฉลิมฉลองเพื่อบูชาเทพเจ้าของชาวโรมันการประดับสถานที่ด้วยพืชพันธุ์สีเขียวและแสงไฟ รวมถึงงานการกุศลในวันปีใหม่ของชาวโรมันการก่อกองไฟจากท่อนไม้ขนาดใหญ่ และสำหรับชาวเยอรมันจะมีการเลี้ยงฉลองด้วยอากหารหลากชนิดปฏิทินของชาวเพเกน สแกนดิเนียเวีย ฉลองเทศกาลฤดูหนาวโดยใช้ชื่อว่า ยูล ซึ่งจะจัดขึ้นในปลายเดือนธันวาคมถึงต้นเดือนมกราคม เนื่องจากทางตอนเหนือของยุโรปเป็นพื้นที่ท้ายๆที่นับถือศาสนาคริสต์ ซึ่งวัฒนธรรมเพเกนเองก็ได้รับอิทธิพลมาจากวันคริสต์มาสชาวสแกนดิเนเวียนยังคงเรียกวันคริสต์มาสว่า คริสต์มาส จูล ในภาษาอังกฤษคำว่ายูลนั้นมีความหมายเหมือนกับคำว่าคริสต์มาส ซึ่งมีการบันทึกการใช้ครั้งแรกในปี 900
วันอังคารที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
passive system & active system
การรวบรวมขอมลจากการสำรวจระยะไกล สามารถกระทาได 2 ระบบ
1.ระบบแรกเป็นระบบทางออม (passive system) เป็นการบนทกพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าที่สะท้อนจากวัตถุ ซึ่งอาศัยพลังงานจากแสงอาทิตย์
2.ระบบทางตรง (active system) ที่มนุษย์สร้างพลังคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าส่งไปยังวัตถุ แล้วบันทึกปริมาณรังสีที่สะท้อนกลับมายังอุปกรณ์บันทึก ข้อมูลเหล่านี้อาจอยู่ในรูปของภาพเหมือน (analog) เช่น ภาพถ่าย หรือ ภาพวิดีโอ หรืออยู่ในรูปข้อมูลเชิงตัวเลข (digital)
=ข้อมูลที่ได้จากการถ่ายแต่ละระบบ จะมีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน โดยคุณสมบัติเหล่านี้จะเกี่ยวข้องกับความละเอียดเชิงพื้นที่ เชิงคลื่นแสง เชิงรังสี และเชิงเวลา ผู้ใช้จะต้องรู้ว่าข้อมูลแต่ละระบบมีลักษณะอย่างไร เพื่อจะได้นำข้อมูลไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
ความเป็นมาของฝนดาวตก
ความเป็นมาของฝนดาวตก
มนุษย์เราสังเกตพบปรากฏการณ์ฝนดาวตก (ต่อไปเมื่อกล่าวถึงฝนดาวตกจะมีความหมายอย่างกว้างๆ ไม่เจาะจงว่าเป็นฝนดาวตกขนาดปรอยๆหรือแรงขนาดเป็นพายุดาวตก แต่หากต้องการเน้นว่ามีปริมาณมากก็จะเจาะจงไปว่าเป็นพายุดาวตก) มานานกว่า 3,000 ปีมาแล้ว โดยคนโบราณโยงปรากฏการณ์ฝนดาวตกเข้ากับสิ่งเหนือธรรมชาติ เพราะสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องที่เหนือความเข้าใจของคนในยุคนั้น
ในปี ค.ศ. 36 จดหมายเหตุของจีนบันทึกไว้ว่าเกิดฝนดาวตกกว่าหนึ่งร้อยดวงในตอนรุ่งเช้าวันหนึ่ง หลังจากมาในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 8 ก็มีบันทึกเกี่ยวกับปรากฏการณ์ฝนดาวตกอีก โดยในปี ค.ศ. 902 ยูทีคิอุส (Eutychius) นักประวัติศาสตร์ชาวเมืองอเล็กซานเดรียได้บันทึกไว้ในจดหมายเหตุว่าในคืนวันหนึ่ง มีดาวตกจำนวนมากร่วงลงมาจากท้องฟ้าราวกับห่าฝน ดาวตกเหล่านี้ล้วนแต่ร่วงมาจากจุดๆเดียวกันบนท้องฟ้า และในคืนวันเดียวกันนั้นเอง กษัตริย์อิบราฮิม เบน อาเหม็ดแห่งอียีปต์ก็สิ้นพระชนม์ลง จากเหตุการณ์นี้เอง ปีนั้นจึงถูกเรียกว่า ปีแห่งดาว ในขณะเดียวกัน จากจดหมายเหตุทางประวัติศาสตร์ของจีนก็ได้ระบุว่าในปีนั้นมี ดาวร่วงจากฟ้าราวกับห่าฝน
มนุษย์เราสังเกตพบปรากฏการณ์ฝนดาวตก (ต่อไปเมื่อกล่าวถึงฝนดาวตกจะมีความหมายอย่างกว้างๆ ไม่เจาะจงว่าเป็นฝนดาวตกขนาดปรอยๆหรือแรงขนาดเป็นพายุดาวตก แต่หากต้องการเน้นว่ามีปริมาณมากก็จะเจาะจงไปว่าเป็นพายุดาวตก) มานานกว่า 3,000 ปีมาแล้ว โดยคนโบราณโยงปรากฏการณ์ฝนดาวตกเข้ากับสิ่งเหนือธรรมชาติ เพราะสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องที่เหนือความเข้าใจของคนในยุคนั้น
ในปี ค.ศ. 36 จดหมายเหตุของจีนบันทึกไว้ว่าเกิดฝนดาวตกกว่าหนึ่งร้อยดวงในตอนรุ่งเช้าวันหนึ่ง หลังจากมาในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 8 ก็มีบันทึกเกี่ยวกับปรากฏการณ์ฝนดาวตกอีก โดยในปี ค.ศ. 902 ยูทีคิอุส (Eutychius) นักประวัติศาสตร์ชาวเมืองอเล็กซานเดรียได้บันทึกไว้ในจดหมายเหตุว่าในคืนวันหนึ่ง มีดาวตกจำนวนมากร่วงลงมาจากท้องฟ้าราวกับห่าฝน ดาวตกเหล่านี้ล้วนแต่ร่วงมาจากจุดๆเดียวกันบนท้องฟ้า และในคืนวันเดียวกันนั้นเอง กษัตริย์อิบราฮิม เบน อาเหม็ดแห่งอียีปต์ก็สิ้นพระชนม์ลง จากเหตุการณ์นี้เอง ปีนั้นจึงถูกเรียกว่า ปีแห่งดาว ในขณะเดียวกัน จากจดหมายเหตุทางประวัติศาสตร์ของจีนก็ได้ระบุว่าในปีนั้นมี ดาวร่วงจากฟ้าราวกับห่าฝน
http://www.yupparaj.ac.th/special/leonids/page1.htm
วันอังคารที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2552
GIS ทำงานอย่างไร
GIS ทำงานอย่างไร
1. การนำเข้าข้อมูล (input) ก่อนที่ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกใช้งานได้ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ข้อมูลจะต้องได้รับการแปลง ให้มาอยู่ในรูปแบบของข้อมูล เชิงตัวเลข (digital format) เสียก่อน เช่น จากแผนที่กระดาษไปสู่ข้อมูลใน รูปแบบดิจิตอลหรือแฟ้มข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่ใช้ในการนำเข้าเช่น Digitizer Scanner หรือ Keyboard เป็นต้น
2. การปรับแต่งข้อมูล (manipulation) ข้อมูลที่ได้รับเข้าสู่ระบบบางอย่างจำเป็นต้องได้รับการปรับแต่งให้เหมาะสมกับงาน เช่น ข้อมูลบางอย่างมีขนาด หรือสเกล (scale) ที่แตกต่างกัน หรือใช้ระบบพิกัดแผนที่ที่แตกต่างกัน ข้อมูลเหล่านี้จะต้องได้รับการปรับให้อยู่ใน ระดับเดียวกันเสียก่อน
3. การบริหารข้อมูล (management) ระบบจัดการฐานข้อมูลหรือ DBMS จะถูกนำมาใช้ในการบริหารข้อมูลเพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพในระบบ GIS DBMS ที่ได้รับการเชื่อถือและนิยมใช้กันอย่างกว้างขวางที่สุดคือ DBMS แบบ Relational หรือระบบจัดการฐานข้อมูลแบบสัมพัทธ์ (DBMS) ซึ่งมีหลักการทำงานพื้นฐาน ดังนี้คือ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บ ในรูปของตารางหลาย ๆ ตาราง
4. การเรียกค้นและวิเคราะห์ข้อมูล (query and analysis) เมื่อระบบ GIS มีความพร้อมในเรื่องของข้อมูลแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ การนำข้อมูลเหล่านี่มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ เช่น ใครคือเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดินผืนที่ติดกับโรงเรียน? เมืองสองเมืองนี้มีระยะห่างกันกี่กิโลเมตร? ดินชนิดใดบ้างที่เหมาะสำหรับปลูกอ้อย? หรือ ต้องมีการสอบถามอย่างง่าย ๆ เช่น ชี้เมาส์ไปในบริเวณที่ต้องการแล้วเลือก (point and click) เพื่อสอบถามหรือเรียกค้นข้อมูล นอกจากนี้ระบบ GIS ยังมีเครื่องมือในการวิเคราะห์ เช่น การวิเคราะห์เชิงประมาณค่า (proximity หรือ buffer) การวิเคราะห์เชิงซ้อน (overlay analysis) เป็นต้น
5. การนำเสนอข้อมูล (visualization) จากการดำเนินการเรียกค้นและวิเคราะห์ข้อมูล ผลลัพธ์ที่ได้จะอยู่ในรูปของตัวเลขหรือตัวอักษร ซึ่งยากต่อการตีความหมายหรือทำความเข้าใจ การนำเสนอข้อมูลที่ดี เช่น การแสดงชาร์ต (chart) แบบ 2 มิติ หรือ 3 มิติ รูปภาพจากสถานที่จริง ภาพเคลื่อนไหว แผนที่ หรือแม้กระทั่งระบบมัลติมีเดีย สื่อต่าง ๆ เหล่านี้จะทำให้ผู้ใช้เข้าใจความหมายและมองภาพของผลลัพธ์ที่กำลังนำเสนอได้ดียิ่งขึ้นอีก
ลักษณะข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
โลกมีความสลับซับซ้อนมากเกินกว่าที่จะเก็บข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับโลกไว้ในรูปข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ จึงต้องเปลี่ยนปรากฏการณ์บน ผิวโลกจัดเก็บในรูปของตัวเลขเชิงรหัส (digital form) โดยแทนปรากฏการณ์เหล่านั้นด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เรียกว่า Feature
ประเภทของ Feature
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เป็นตัวแทนของปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์บนโลกแผนที่กระดาษบันทึกตำแหน่งทางภูมิศาสตร์และแทนสิ่งต่างๆ บนโลกที่เป็นลายเส้นและพื้นที่ด้วยสัญลักษณ์แบบ จุด เส้น พื้นที่และตัวอักษร ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์จะใช้ feature ประเภทต่างๆ ในการแทนปรากฏการณ์โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
จุด (point)
เส้น (arc)
โพลีกอน (polygon)
1. การนำเข้าข้อมูล (input) ก่อนที่ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกใช้งานได้ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ข้อมูลจะต้องได้รับการแปลง ให้มาอยู่ในรูปแบบของข้อมูล เชิงตัวเลข (digital format) เสียก่อน เช่น จากแผนที่กระดาษไปสู่ข้อมูลใน รูปแบบดิจิตอลหรือแฟ้มข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่ใช้ในการนำเข้าเช่น Digitizer Scanner หรือ Keyboard เป็นต้น
2. การปรับแต่งข้อมูล (manipulation) ข้อมูลที่ได้รับเข้าสู่ระบบบางอย่างจำเป็นต้องได้รับการปรับแต่งให้เหมาะสมกับงาน เช่น ข้อมูลบางอย่างมีขนาด หรือสเกล (scale) ที่แตกต่างกัน หรือใช้ระบบพิกัดแผนที่ที่แตกต่างกัน ข้อมูลเหล่านี้จะต้องได้รับการปรับให้อยู่ใน ระดับเดียวกันเสียก่อน
3. การบริหารข้อมูล (management) ระบบจัดการฐานข้อมูลหรือ DBMS จะถูกนำมาใช้ในการบริหารข้อมูลเพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพในระบบ GIS DBMS ที่ได้รับการเชื่อถือและนิยมใช้กันอย่างกว้างขวางที่สุดคือ DBMS แบบ Relational หรือระบบจัดการฐานข้อมูลแบบสัมพัทธ์ (DBMS) ซึ่งมีหลักการทำงานพื้นฐาน ดังนี้คือ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บ ในรูปของตารางหลาย ๆ ตาราง
4. การเรียกค้นและวิเคราะห์ข้อมูล (query and analysis) เมื่อระบบ GIS มีความพร้อมในเรื่องของข้อมูลแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ การนำข้อมูลเหล่านี่มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ เช่น ใครคือเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดินผืนที่ติดกับโรงเรียน? เมืองสองเมืองนี้มีระยะห่างกันกี่กิโลเมตร? ดินชนิดใดบ้างที่เหมาะสำหรับปลูกอ้อย? หรือ ต้องมีการสอบถามอย่างง่าย ๆ เช่น ชี้เมาส์ไปในบริเวณที่ต้องการแล้วเลือก (point and click) เพื่อสอบถามหรือเรียกค้นข้อมูล นอกจากนี้ระบบ GIS ยังมีเครื่องมือในการวิเคราะห์ เช่น การวิเคราะห์เชิงประมาณค่า (proximity หรือ buffer) การวิเคราะห์เชิงซ้อน (overlay analysis) เป็นต้น
5. การนำเสนอข้อมูล (visualization) จากการดำเนินการเรียกค้นและวิเคราะห์ข้อมูล ผลลัพธ์ที่ได้จะอยู่ในรูปของตัวเลขหรือตัวอักษร ซึ่งยากต่อการตีความหมายหรือทำความเข้าใจ การนำเสนอข้อมูลที่ดี เช่น การแสดงชาร์ต (chart) แบบ 2 มิติ หรือ 3 มิติ รูปภาพจากสถานที่จริง ภาพเคลื่อนไหว แผนที่ หรือแม้กระทั่งระบบมัลติมีเดีย สื่อต่าง ๆ เหล่านี้จะทำให้ผู้ใช้เข้าใจความหมายและมองภาพของผลลัพธ์ที่กำลังนำเสนอได้ดียิ่งขึ้นอีก
ลักษณะข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
โลกมีความสลับซับซ้อนมากเกินกว่าที่จะเก็บข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับโลกไว้ในรูปข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ จึงต้องเปลี่ยนปรากฏการณ์บน ผิวโลกจัดเก็บในรูปของตัวเลขเชิงรหัส (digital form) โดยแทนปรากฏการณ์เหล่านั้นด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เรียกว่า Feature
ประเภทของ Feature
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เป็นตัวแทนของปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์บนโลกแผนที่กระดาษบันทึกตำแหน่งทางภูมิศาสตร์และแทนสิ่งต่างๆ บนโลกที่เป็นลายเส้นและพื้นที่ด้วยสัญลักษณ์แบบ จุด เส้น พื้นที่และตัวอักษร ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์จะใช้ feature ประเภทต่างๆ ในการแทนปรากฏการณ์โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
จุด (point)
เส้น (arc)
โพลีกอน (polygon)
ภาษา SQL (Standard Query Language)
ภาษา SQL (Standard Query Language)
ภาษาที่กลายเป็นภาษามาตรฐานสำ หรับระบบฐานข้อมูลคือ ภาษา Standard relational database
Query Language หรือเอสคิวแอล (SQL) หรือซีควอล (SE-QUEL) ซึ่งเป็นภาษาที่พัฒนาขึ้นมาโดยบริษัท
ไอบีเอ็ม ภาษา SQL (Standard Query Language) เป็นส่วนหนึ่งของระบบฐานข้อมูลแบบรีเลชั่นเนล
(Relational Database) ที่ได้รับความนิยมมากเพราะง่ายต่อความเข้าใจ และอยู่ในรูปภาษาอังกฤษ ภาษา
SQL แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
• ภาษาที่ใช้สำ หรับนิยามข้อมูล (Data Definition Language-DDL)
• ภาษาสำ หรับการจัดการข้อมูลล (Data Manipulation Language: DML)
• ภาษาควบคุม (Control Language)
• ภาษาในการเลือกข้อมูล (Data Query Language)
รูปแบบการใช้คำ สั่ง SQL สามารถใช้ได้เป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ คือ
• คำ สั่ง SQL ที่ใช้เรียกดูข้อมูลได้ทันที (Interactive SQL)
เป็นการเรียกใช้คำ สั่ง SQL สั่งงานบนจอภาพ เพื่อเรียกดูข้อมูลในขณะที่ทำ งานได้ทันที เช่น
SELECT CITY FROM SUPPLIER WHERE SNO = ‘SE’;
• คำ สั่ง SQL ที่ใช้เขียนร่วมกันโปรแกรมอื่น ๆ (Embedded SQL)
เป็นคำ สั่ง SQL ที่ใช้ร่วมกับคำ สั่งของโปรแกรมภาษาต่าง ๆ เช่น PL/1 PASCAL ฯลฯ หรือแม้
แต่กับคำ สั่งในโปรแกรมที่ระบบจัดการฐานข้อมูลนั้นมีใช้เฉพาะ เช่น ORACLE มี PL/SQL (Procedural
Language /SQL) ที่สามารถเขียนโปรแกรมและนำ คำ สั่ง SQL มาเขียนร่วมด้วย เป็นต้น
ตัวอย่างการใช้คำ สั่ง SQL ในภาษา PL/1
EXEC SQL SELECT CITY
INTO :XCITY
FROM SUPPLIER
WHERE SNO = ‘S4’;
ภาษาที่กลายเป็นภาษามาตรฐานสำ หรับระบบฐานข้อมูลคือ ภาษา Standard relational database
Query Language หรือเอสคิวแอล (SQL) หรือซีควอล (SE-QUEL) ซึ่งเป็นภาษาที่พัฒนาขึ้นมาโดยบริษัท
ไอบีเอ็ม ภาษา SQL (Standard Query Language) เป็นส่วนหนึ่งของระบบฐานข้อมูลแบบรีเลชั่นเนล
(Relational Database) ที่ได้รับความนิยมมากเพราะง่ายต่อความเข้าใจ และอยู่ในรูปภาษาอังกฤษ ภาษา
SQL แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
• ภาษาที่ใช้สำ หรับนิยามข้อมูล (Data Definition Language-DDL)
• ภาษาสำ หรับการจัดการข้อมูลล (Data Manipulation Language: DML)
• ภาษาควบคุม (Control Language)
• ภาษาในการเลือกข้อมูล (Data Query Language)
รูปแบบการใช้คำ สั่ง SQL สามารถใช้ได้เป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ คือ
• คำ สั่ง SQL ที่ใช้เรียกดูข้อมูลได้ทันที (Interactive SQL)
เป็นการเรียกใช้คำ สั่ง SQL สั่งงานบนจอภาพ เพื่อเรียกดูข้อมูลในขณะที่ทำ งานได้ทันที เช่น
SELECT CITY FROM SUPPLIER WHERE SNO = ‘SE’;
• คำ สั่ง SQL ที่ใช้เขียนร่วมกันโปรแกรมอื่น ๆ (Embedded SQL)
เป็นคำ สั่ง SQL ที่ใช้ร่วมกับคำ สั่งของโปรแกรมภาษาต่าง ๆ เช่น PL/1 PASCAL ฯลฯ หรือแม้
แต่กับคำ สั่งในโปรแกรมที่ระบบจัดการฐานข้อมูลนั้นมีใช้เฉพาะ เช่น ORACLE มี PL/SQL (Procedural
Language /SQL) ที่สามารถเขียนโปรแกรมและนำ คำ สั่ง SQL มาเขียนร่วมด้วย เป็นต้น
ตัวอย่างการใช้คำ สั่ง SQL ในภาษา PL/1
EXEC SQL SELECT CITY
INTO :XCITY
FROM SUPPLIER
WHERE SNO = ‘S4’;
วันพฤหัสบดีที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2552
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่มีอยู่ธรรมชาติ อาจหมายถึง เป็นกลุ่มสัญลักษณ์ตัวเลขตัวหนังสือ ซึ่งข้อมูลนี้ถือว่าเป็นวัตถุดิบของสารสนเทศ
แฟ้มข้อมูลพนักงานขาย
ชื่อ อายุ Tel
1. A 25 01 -9854123
2. B 36 053-756134
3. C 20 01-981236
ID Name last-name Age Gender
1234 มานี ดีใจ 20 หญิงfemale
1356 ปิติ ใจกล้า 25 ชาย male
2561 สดใส ใจสวย 16 หญิงfemale
แฟ้มข้อมูลพนักงานขาย
ชื่อ อายุ Tel
1. A 25 01 -9854123
2. B 36 053-756134
3. C 20 01-981236
ID Name last-name Age Gender
1234 มานี ดีใจ 20 หญิงfemale
1356 ปิติ ใจกล้า 25 ชาย male
2561 สดใส ใจสวย 16 หญิงfemale
วันจันทร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2552
ความหมายของคำว่า "ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ( GIS)"
ความหมายของคำว่า "ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ( Geographic Information System )
ความหมายของคำว่า "ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ( Geographic Information System ) GIS"ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ Geographic Information System : GIS คือกระบวนการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้กำหนดข้อมูลและสารสนเทศ ที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ สัมพันธ์กับตำแหน่งในแผนที่ ตำแหน่ง เส้นรุ้ง เส้นแวง ข้อมูลและแผนที่ใน GIS เป็นระบบข้อมูลสารสนเทศที่อยู่ในรูปของตารางข้อมูล และฐานข้อมูลที่มีส่วนสัมพันธ์กับข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ซึ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพื้นที่ทั้งหลาย จะสามารถนำมาวิเคราะห์ด้วย GIS และทำให้สื่อความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับเวลาได้ เช่น การแพร่ขยายของโรคระบาด การเคลื่อนย้าย ถิ่นฐาน การบุกรุกทำลาย การเปลี่ยนแปลงของการใช้พื้นที่ ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้ เมื่อปรากฏบนแผนที่ทำให้สามารถแปลและสื่อความหมาย ใช้งานได้ง่าย GIS เป็นระบบข้อมูลข่าวสารที่เก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ แต่สามารถแปลความหมายเชื่อมโยงกับสภาพภูมิศาสตร์อื่นๆ สภาพท้องที่ สภาพการทำงานของระบบสัมพันธ์กับสัดส่วนระยะทางและพื้นที่จริงบนแผนที่ ข้อแตกต่างระหว่าง GIS กับ MIS นั้นสามารถพิจารณาได้จากลักษณะของข้อมูล คือ ข้อมูลที่จัดเก็บใน GIS มีลักษณะเป็นข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ที่แสดงในรูปของภาพ (graphic) แผนที่ (map) ที่เชื่อมโยงกับข้อมูลเชิงบรรยาย (Attribute Data) หรือฐานข้อมูล (Database)การเชื่อมโยงข้อมูลทั้งสองประเภทเข้าด้วยกัน จะทำให้ผู้ใช้สามารถที่จะแสดงข้อมูลทั้งสองประเภทได้พร้อมๆ กัน เช่นสามารถจะค้นหาตำแหน่งของจุดตรวจวัดควันดำ - ควันขาวได้โดยการระบุชื่อจุดตรวจ หรือในทางตรงกันข้าม สามารถที่จะสอบถามรายละเอียดของ จุดตรวจจากตำแหน่งที่เลือกขึ้นมา ซึ่งจะต่างจาก MIS ที่แสดง ภาพเพียงอย่างเดียว โดยจะขาดการเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกับรูปภาพนั้น เช่นใน CAD (Computer Aid Design) จะเป็นภาพเพียงอย่างเดียว แต่แผนที่ใน GIS จะมีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ คือค่าพิกัดที่แน่นอน ข้อมูลใน GIS ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย สามารถอ้างอิงถึงตำแหน่งที่มีอยู่จริงบนพื้นโลกได้โดยอาศัยระบบพิกัดทางภูมิศาสตร์ (Geocode) ซึ่งจะสามารถอ้างอิงได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ข้อมูลใน GIS ที่อ้างอิงกับพื้นผิวโลกโดยตรง หมายถึง ข้อมูลที่มีค่าพิกัดหรือมีตำแหน่งจริงบนพื้นโลกหรือในแผนที่ เช่น ตำแหน่งอาคาร ถนน ฯลฯ สำหรับข้อมูล GIS ที่จะอ้างอิงกับข้อมูลบนพื้นโลกได้โดยทางอ้อมได้แก่ ข้อมูลของบ้าน(รวมถึงบ้านเลขที่ ซอย เขต แขวง จังหวัด และรหัสไปรษณีย์) โดยจากข้อมูลที่อยู่ เราสามารถทราบได้ว่าบ้านหลังนี้มีตำแหน่งอยู่ ณ ที่ใดบนพื้นโลก เนื่องจากบ้านทุกหลังจะมีที่อยู่ไม่ซ้ำกัน
ความหมายของคำว่า "ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ( Geographic Information System ) GIS"ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ Geographic Information System : GIS คือกระบวนการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้กำหนดข้อมูลและสารสนเทศ ที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ สัมพันธ์กับตำแหน่งในแผนที่ ตำแหน่ง เส้นรุ้ง เส้นแวง ข้อมูลและแผนที่ใน GIS เป็นระบบข้อมูลสารสนเทศที่อยู่ในรูปของตารางข้อมูล และฐานข้อมูลที่มีส่วนสัมพันธ์กับข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ซึ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพื้นที่ทั้งหลาย จะสามารถนำมาวิเคราะห์ด้วย GIS และทำให้สื่อความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับเวลาได้ เช่น การแพร่ขยายของโรคระบาด การเคลื่อนย้าย ถิ่นฐาน การบุกรุกทำลาย การเปลี่ยนแปลงของการใช้พื้นที่ ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้ เมื่อปรากฏบนแผนที่ทำให้สามารถแปลและสื่อความหมาย ใช้งานได้ง่าย GIS เป็นระบบข้อมูลข่าวสารที่เก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ แต่สามารถแปลความหมายเชื่อมโยงกับสภาพภูมิศาสตร์อื่นๆ สภาพท้องที่ สภาพการทำงานของระบบสัมพันธ์กับสัดส่วนระยะทางและพื้นที่จริงบนแผนที่ ข้อแตกต่างระหว่าง GIS กับ MIS นั้นสามารถพิจารณาได้จากลักษณะของข้อมูล คือ ข้อมูลที่จัดเก็บใน GIS มีลักษณะเป็นข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ที่แสดงในรูปของภาพ (graphic) แผนที่ (map) ที่เชื่อมโยงกับข้อมูลเชิงบรรยาย (Attribute Data) หรือฐานข้อมูล (Database)การเชื่อมโยงข้อมูลทั้งสองประเภทเข้าด้วยกัน จะทำให้ผู้ใช้สามารถที่จะแสดงข้อมูลทั้งสองประเภทได้พร้อมๆ กัน เช่นสามารถจะค้นหาตำแหน่งของจุดตรวจวัดควันดำ - ควันขาวได้โดยการระบุชื่อจุดตรวจ หรือในทางตรงกันข้าม สามารถที่จะสอบถามรายละเอียดของ จุดตรวจจากตำแหน่งที่เลือกขึ้นมา ซึ่งจะต่างจาก MIS ที่แสดง ภาพเพียงอย่างเดียว โดยจะขาดการเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกับรูปภาพนั้น เช่นใน CAD (Computer Aid Design) จะเป็นภาพเพียงอย่างเดียว แต่แผนที่ใน GIS จะมีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ คือค่าพิกัดที่แน่นอน ข้อมูลใน GIS ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย สามารถอ้างอิงถึงตำแหน่งที่มีอยู่จริงบนพื้นโลกได้โดยอาศัยระบบพิกัดทางภูมิศาสตร์ (Geocode) ซึ่งจะสามารถอ้างอิงได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ข้อมูลใน GIS ที่อ้างอิงกับพื้นผิวโลกโดยตรง หมายถึง ข้อมูลที่มีค่าพิกัดหรือมีตำแหน่งจริงบนพื้นโลกหรือในแผนที่ เช่น ตำแหน่งอาคาร ถนน ฯลฯ สำหรับข้อมูล GIS ที่จะอ้างอิงกับข้อมูลบนพื้นโลกได้โดยทางอ้อมได้แก่ ข้อมูลของบ้าน(รวมถึงบ้านเลขที่ ซอย เขต แขวง จังหวัด และรหัสไปรษณีย์) โดยจากข้อมูลที่อยู่ เราสามารถทราบได้ว่าบ้านหลังนี้มีตำแหน่งอยู่ ณ ที่ใดบนพื้นโลก เนื่องจากบ้านทุกหลังจะมีที่อยู่ไม่ซ้ำกัน
วันพฤหัสบดีที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2552
How to think Spatially
1.Spatial Distribution = การกระจายในเชิงพื้นที่- การที่พื้นที่ใด ณ พื้นที่หนึ่งที่มีทรัพยากรแล้วมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนเป็นบริเวณกว้างในรูปแบบการกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอในพื้นที่นั้น
2.Spatial Differentiation = ความแตกต่างในเชิงพื้นที่-ในพื้นที่แต่ละพื้นที่หนึ่งจะมีลักษณะเฉพาะทางกายภาพและชีวภาพไม่เหมือนกันและพื้นที่นั้นยังมีทรัพยากรที่มีความหลากหลายต่างกันตามลักษณะของพื้นที่
3.Spatial Diffusion = การแพร่กระจายในเชิงพื้นที่อย่างมีรู้จุดเริ่มต้น -พื้นที่หนึ่งที่มีการกระจายตัวทางทรัพยากรหรือการเผยแพร่วัฒนธรรมไปสู่บริเวณพื้นที่อื่น
4.Spatial Interaction = การปฎิสัมพันธ์ในเชิงพื้นที่-พื้นที่ที่มีการกระทำ โต้ตอบหรือทำกิจกรรมระหว่างกันในบริเวณพื้นที่เดียวกันหรือต่างพื้นที่กัน เช่น หอพักมีปฎิสัมพันธ์กับมหาวิทยาลัย
5.Spatial Temporal = ช่วงเวลาและสถานที่ในเชิงพื้นที่จะต้องเกี่ยวข้องกันเสมอ
2.Spatial Differentiation = ความแตกต่างในเชิงพื้นที่-ในพื้นที่แต่ละพื้นที่หนึ่งจะมีลักษณะเฉพาะทางกายภาพและชีวภาพไม่เหมือนกันและพื้นที่นั้นยังมีทรัพยากรที่มีความหลากหลายต่างกันตามลักษณะของพื้นที่
3.Spatial Diffusion = การแพร่กระจายในเชิงพื้นที่อย่างมีรู้จุดเริ่มต้น -พื้นที่หนึ่งที่มีการกระจายตัวทางทรัพยากรหรือการเผยแพร่วัฒนธรรมไปสู่บริเวณพื้นที่อื่น
4.Spatial Interaction = การปฎิสัมพันธ์ในเชิงพื้นที่-พื้นที่ที่มีการกระทำ โต้ตอบหรือทำกิจกรรมระหว่างกันในบริเวณพื้นที่เดียวกันหรือต่างพื้นที่กัน เช่น หอพักมีปฎิสัมพันธ์กับมหาวิทยาลัย
5.Spatial Temporal = ช่วงเวลาและสถานที่ในเชิงพื้นที่จะต้องเกี่ยวข้องกันเสมอ
วันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2552
GIS and CAMA
GIS and CAMA
GIS and CAMA ในกระบวนการพัฒนาเมือง การจัดการการใช้ที่ดินและการประเมินค่าทรัพย์สินในปัจจุบันอาศัยเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographical Information System: GIS) มากยิ่งขึ้น เพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ เชื่อมโยงกับเครือข่ายแผนที่อย่างเป็นรูปธรรม และในปัจจุบันเทคโนโลยีนี้ยังเชื่อมโยงกับการประเมินค่าทรัพย์สินโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer-Assisted Mass Appraisal: CAMA) เพื่อให้การประเมินมีความเป็นวิทยาศาสตร์และเชื่อถือได้ยิ่งขึ้น ตามมาตรฐานการประเมินค่าทรัพย์สินของสหรัฐอเมริกา กำหนดว่า CAMA หรือ Computer Assisted Mass Appraisal ประกอบด้วย 1. การกำหนดอสังหาริมทรัพย์ที่พึงประเมิน เช่น เป็นที่อยู่อาศัยหรืออสังหาริมทรัพย์อื่นใด2. การกำหนดขอบเขตพื้นที่ เช่น ในเขตเมืองหรือนครหนึ่ง ๆ 3. การกำหนดเงื่อนไขหรือตัวแปรที่น่าจะมีผลต่อมูลค่าตลาดของทรัพย์สิน4. การพัฒนาโครงสร้างของแบบจำลองทางสถิติ ที่สะท้อนความสัมพันธ์เชิงตัวแปรต่อมูลค่าตลาดของทรัพย์สิน 5. การตรวจวัดความแม่นยำของตัวแปรที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงมูลค่าทรัพย์สิน6. การนำแบบจำลองนี้ไปปรับใช้ในพื้นที่ เพื่อขยายผลให้สามารถประเมินค่าทรัพย์สินได้อย่างประหยัดและรวดเร็ว7. การปรับปรุงแบบจำลองแบบต่อเนื่องเพื่อความเหมาะสมกับภาวะตลาดยิ่งขึ้นในอนาคตดังนั้นการทำ CAMA จะได้ผลดีหรือไม่จึงขึ้นอยู่กับการกำหนด และดำเนินการตามขั้นตอนข้างต้น
GIS and CAMA ในกระบวนการพัฒนาเมือง การจัดการการใช้ที่ดินและการประเมินค่าทรัพย์สินในปัจจุบันอาศัยเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographical Information System: GIS) มากยิ่งขึ้น เพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ เชื่อมโยงกับเครือข่ายแผนที่อย่างเป็นรูปธรรม และในปัจจุบันเทคโนโลยีนี้ยังเชื่อมโยงกับการประเมินค่าทรัพย์สินโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer-Assisted Mass Appraisal: CAMA) เพื่อให้การประเมินมีความเป็นวิทยาศาสตร์และเชื่อถือได้ยิ่งขึ้น ตามมาตรฐานการประเมินค่าทรัพย์สินของสหรัฐอเมริกา กำหนดว่า CAMA หรือ Computer Assisted Mass Appraisal ประกอบด้วย 1. การกำหนดอสังหาริมทรัพย์ที่พึงประเมิน เช่น เป็นที่อยู่อาศัยหรืออสังหาริมทรัพย์อื่นใด2. การกำหนดขอบเขตพื้นที่ เช่น ในเขตเมืองหรือนครหนึ่ง ๆ 3. การกำหนดเงื่อนไขหรือตัวแปรที่น่าจะมีผลต่อมูลค่าตลาดของทรัพย์สิน4. การพัฒนาโครงสร้างของแบบจำลองทางสถิติ ที่สะท้อนความสัมพันธ์เชิงตัวแปรต่อมูลค่าตลาดของทรัพย์สิน 5. การตรวจวัดความแม่นยำของตัวแปรที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงมูลค่าทรัพย์สิน6. การนำแบบจำลองนี้ไปปรับใช้ในพื้นที่ เพื่อขยายผลให้สามารถประเมินค่าทรัพย์สินได้อย่างประหยัดและรวดเร็ว7. การปรับปรุงแบบจำลองแบบต่อเนื่องเพื่อความเหมาะสมกับภาวะตลาดยิ่งขึ้นในอนาคตดังนั้นการทำ CAMA จะได้ผลดีหรือไม่จึงขึ้นอยู่กับการกำหนด และดำเนินการตามขั้นตอนข้างต้น
โดยเฉพาะกรณีการจัดหาข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ หากข้อมูลไม่ดีพอ ผลที่ได้ก็อาจไม่น่าเชื่อถือ
GIS กับ CAMAGIS ย่อมาจาก Geographical Information System หรือระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ สามารถนำมาใช้ประกอบการประเมินค่าทรัพย์สินแบบ CAMA หรือ Mass Appraisal ได้ ซึ่งถือเป็นการผสานเทคโนโลยีสำคัญที่จะทำให้การประเมินค่าทรัพย์สินได้รับการพัฒนาให้ก้าวกระโดดไปข้างหน้าอีกก้าวหนึ่ง โดยสามารถมองเห็นภาพประกอบด้วยกรณีที่นำ GIS มาใช้ประกอบในส่วนของการวิเคราะห์ ก็คือการสร้างเส้นแสดงความสูงต่ำของพื้นที่ (contour line) ตามราคาที่ดินหรือราคาบ้านที่สูงต่ำแตกต่างกัน เส้นดังกล่าวนี้ช่วยให้เห็นทิศทางการเพิ่มลดของมูลค่าทรัพย์สินในแต่ละทำเล ทำให้เห็นภาพการเชื่อมต่อของราคาในแต่ละจุด ในทางตรงกันข้ามเส้นดังกล่าวนี้ยังช่วยในการพิจารณาว่ามูลค่าทรัพย์สินที่ประเมินได้สอดคล้องกับความเป็นจริงหรือไม่ เช่น ในพื้นที่ชุมชนแออัด ราคาบ้านน่าจะต่ำ แต่หากออกมาสูงก็อาจแสดงว่าข้อมูลหรือแบบจำลองควรได้รับการทบทวน
GIS กับ CAMAGIS ย่อมาจาก Geographical Information System หรือระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ สามารถนำมาใช้ประกอบการประเมินค่าทรัพย์สินแบบ CAMA หรือ Mass Appraisal ได้ ซึ่งถือเป็นการผสานเทคโนโลยีสำคัญที่จะทำให้การประเมินค่าทรัพย์สินได้รับการพัฒนาให้ก้าวกระโดดไปข้างหน้าอีกก้าวหนึ่ง โดยสามารถมองเห็นภาพประกอบด้วยกรณีที่นำ GIS มาใช้ประกอบในส่วนของการวิเคราะห์ ก็คือการสร้างเส้นแสดงความสูงต่ำของพื้นที่ (contour line) ตามราคาที่ดินหรือราคาบ้านที่สูงต่ำแตกต่างกัน เส้นดังกล่าวนี้ช่วยให้เห็นทิศทางการเพิ่มลดของมูลค่าทรัพย์สินในแต่ละทำเล ทำให้เห็นภาพการเชื่อมต่อของราคาในแต่ละจุด ในทางตรงกันข้ามเส้นดังกล่าวนี้ยังช่วยในการพิจารณาว่ามูลค่าทรัพย์สินที่ประเมินได้สอดคล้องกับความเป็นจริงหรือไม่ เช่น ในพื้นที่ชุมชนแออัด ราคาบ้านน่าจะต่ำ แต่หากออกมาสูงก็อาจแสดงว่าข้อมูลหรือแบบจำลองควรได้รับการทบทวน
การประยุกต์ใช้ GIS เพื่อสิ่งแวดล้อมและพลังงานธรรมชาติ
การประยุกต์ใช้ GIS เพื่อสิ่งแวดล้อมและพลังงานธรรมชาติเทคโนโลยีทางด้าน GIS นั้น เป็นเทคโนโลยีที่อภิบายข้อมูลในรูปแบบของแผนที่ หรือเป็นข้อมูลเชิงพื้นที่ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ข้อมูลพลังงานและข้อมูลอื่นๆ โดยข้อมูล GIS นั้ระบุที่อยู่บนพื้นฐานข้อมูลที่ระบุสถานที่ตั้ง (Location) ได้อย่างแม่นยำ
การประยุกต์ใช้ GIS เพื่อสิ่งแวดล้อมและพลังงานธรรมชาติเทคโนโลยีทางด้าน GIS นั้น เป็นเทคโนโลยีที่อภิบายข้อมูลในรูปแบบของแผนที่ หรือเป็นข้อมูลเชิงพื้นที่ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ข้อมูลพลังงานและข้อมูลอื่นๆ โดยข้อมูล GIS นั้ระบุที่อยู่บนพื้นฐานข้อมูลที่ระบุสถานที่ตั้ง (Location) ได้อย่างแม่นยำ
Data กับ Information
สารสนเทศ (information)เป็นผลลัพธ์ของกระบวนการและการจัดการข้อมูลโดยการรวมความรู้เข้าไปต่อผู้รับสารสนเทศนั้น สารสนเทศมีความหมายหรือแนวคิดที่กว้าง และหลากหลาย ตั้งแต่การใช้คำว่าสารสนเทศในชีวิตประจำวัน จนถึงความหมายเชิงเทคนิค ตามปกติในภาษาพูด แนวคิดของสารสนเทศใกล้เคียงกับความหมายของการสื่อสาร เงื่อนไข การควบคุม ข้อมูล รูปแบบ คำสั่งปฏิบัติการ ความรู้ ความหมาย สื่อความคิด การรับรู้ และการแทนความหมาย
ปัจจุบันผู้คนพูดเกี่ยวกับยุคสารสนเทศว่าเป็นยุคที่นำไปสู่ยุคแห่งองค์ความรู้หรือปัญญา นำไปสู่สังคมอุดมปัญญา หรือสังคมแห่งสารสนเทศ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ แม้ว่าเมื่อพูดถึงสารสนเทศ เป็นคำที่เกี่ยวข้องในศาสตร์สองสาขา คือ วิทยาการสารสนเทศ และ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งคำว่า "สารสนเทศ" ก็ถูกใช้บ่อยในความหมายที่หลากหลายและกว้างขวางออกไป และมีการนำไปใช้ในส่วนของ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การประมวลผลสารสนเทศ
สิ่งที่ได้จากการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์ สารสนเทศ จึงหมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ทันเวลา และอยู่ในรูปที่ใช้ได้ สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมดูแลเป็นอย่างดี เช่น อาจจะมีการกำหนดให้ผู้ใดบ้างเป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบขั้นตอนการควบคุม กำหนดสิทธิ์ในการแก้ไขหรือการกระทำกับข้อมูลว่าจะกระทำได้โดยใครบ้าง นอกจากนี้ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูกทำลายโดยไม่ได้ตั้งใจ การจัดเก็บข้อมูลที่ดี จะต้องมีการกำหนดรูปแบบของข้อมูลให้มีลักษณะง่ายต่อการจัดเก็บ และมีรูปแบบเดียวกัน ข้อมูลแต่ละชุดควรมีความหมายและมีความเป็นอิสระในตัวเอง นอกจากนี้ไม่ควรมีการเก็บข้อมูลซ้ำซ้อนเพราะจะเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูล
ปัจจุบันผู้คนพูดเกี่ยวกับยุคสารสนเทศว่าเป็นยุคที่นำไปสู่ยุคแห่งองค์ความรู้หรือปัญญา นำไปสู่สังคมอุดมปัญญา หรือสังคมแห่งสารสนเทศ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ แม้ว่าเมื่อพูดถึงสารสนเทศ เป็นคำที่เกี่ยวข้องในศาสตร์สองสาขา คือ วิทยาการสารสนเทศ และ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งคำว่า "สารสนเทศ" ก็ถูกใช้บ่อยในความหมายที่หลากหลายและกว้างขวางออกไป และมีการนำไปใช้ในส่วนของ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การประมวลผลสารสนเทศ
สิ่งที่ได้จากการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์ สารสนเทศ จึงหมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ทันเวลา และอยู่ในรูปที่ใช้ได้ สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมดูแลเป็นอย่างดี เช่น อาจจะมีการกำหนดให้ผู้ใดบ้างเป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบขั้นตอนการควบคุม กำหนดสิทธิ์ในการแก้ไขหรือการกระทำกับข้อมูลว่าจะกระทำได้โดยใครบ้าง นอกจากนี้ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูกทำลายโดยไม่ได้ตั้งใจ การจัดเก็บข้อมูลที่ดี จะต้องมีการกำหนดรูปแบบของข้อมูลให้มีลักษณะง่ายต่อการจัดเก็บ และมีรูปแบบเดียวกัน ข้อมูลแต่ละชุดควรมีความหมายและมีความเป็นอิสระในตัวเอง นอกจากนี้ไม่ควรมีการเก็บข้อมูลซ้ำซ้อนเพราะจะเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูล
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)